รองศาสตราจารย์ ดร.สุภาวี ศิรินคราภรณ์

Assoc.Prof. Supavee Sirinkraporn (Ph.D.)

Ph.D. (Jewellery and Related Objects) Birmingham City University, UK (2003)
M.A. (Jewellery) Royal College of Art, UK (1999)
Cert (Jewellery Making) และ (Enamelling)
Central Saint Martins, UK (1996 และ 1997)
ศ.บ. (เครื่องเคลือบดินเผา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2539)

ประสบการณ์สอน ระยะเวลา 10 ปี

360 101    การออกแบบ1

366 101    ประวัติเครื่องประดับ

366 106    การออกแบบเครื่องประดับ1

366 107    การออกแบบเครื่องประดับ2

การศึกษา

Ph.D. (Jewellery and Related Objects) Birmingham City University, UK (2003)
M.A. (Jewellery) Royal College of Art, UK (1999)
Cert (Jewellery Making) และ (Enamelling)
Central Saint Martins, UK (1996 และ 1997)
ศ.บ. (เครื่องเคลือบดินเผา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2539)

ผลงานวิจัย/สร้างสรรค์

ผลงานวิจัย

ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

สุภาวี ศิรินคราภรณ์.(2557) “เครื่องประดับไทยพอเพียง: การสร้างสรรค์เอกลักษณ์งานออกแบบเครื่องประดับไทย เพื่อตอบสนองธุรกิจเครื่องประดับต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมไทยที่ยั่งยืนโดยการน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, กรุงเทพฯ, สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากร

 

ผลงานสร้างสรรค์

สุภาวี ศิรินคราภรณ์. (2557) Layers [เครื่องประดับ]. นิทรรศการผลงานการออกแบบเครื่องประดับร่วมสมัย Mineral ARTSchmuck 2014. นครมิวนิค สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีวันที่ 24 มีนาคม 2557.

สุภาวี ศิรินคราภรณ์. (2556) อนิจจังประดับกาย[เครื่องประดับ]. นิทรรศการทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรม ศิลป์ พีระศรี โครงการเชิดชูเกียรติศิลปินยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย. หอศิลป์แห่งชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ วันที่ 10 มิถุนายน 2556.

 

บทความ

ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบบทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ

สุภาวี ศิรินคราภรณ์ “ผี พราหมณ์ พุทธ: วัฒนธรรมประดับได้หมายเลขสี่”วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 2559, ฉบับ2 (เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม) : ออนไลน์. เข้าถึงได้จาก http://www.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal(ISSN:1906-3431) Veridian E Journal Silpakorn University(TCI กลุ่ม 1).

 

หนังสือรวมบทความวิจัย

สุภาวี ศิรินคราภรณ์. (2556) “การวิจัยทิศทาง_สร้างสรรค์เครื่องประดับไทยในอนาคต: การพัฒนาองค์ความรู้ด้านการออกแบบ โดยมุ่งเน้นการต่อยอดวัฒนธรรมพอเพียง เพื่อเตรียมการณ์ขยายผลธุรกิจสู่วงการเครื่องประดับสากล พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมสู่การเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน” หนังสือบทคัดย่อ การประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่2 HERP CONGRESS II ปีที่2, ฉบับที่1 (มกราคม) : 63.

© สงวนลิขสิทธิ์ 2558, คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร