รองศาสตราจารย์อาวิน อินทรังษี

Assoc.Prof. Arwin Intrungsi

Email : arwinemon@gmail.com  arwinemon@hotmail.com

ประสบการณ์สอน ระยะเวลา 13 ปี

ระดับปริญญาตรี

362 101 การออกแบบนิเทศศิลป์ 1
362 102 การออกแบบนิเทศศิลป์ 2
262 202 การออกแบบนิเทศศิลป์ 5
362 204 การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ
362 206 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
362 207 โครงการพิเศษด้านวิชาชีพ
362 209 ศิลปนิพนธ์
362 215 การกำกับศิลป์ในงานโฆษณา
362 216 กลยุทธ์การสร้างสรรค์งานโฆษณา

รางวัล

2551 ชนะเลิศการประกวดออกแบบอัตลักษณ์สถานีโทรทัศน์สาธารณะ ไทยพีบีเอส

2552 รองชนะเลิศอันดับ 1 การประกวดตราสัญลักษณ์กรมบัญชีกลาง

2552 ผลงานระดับคุณภาพในการประกวดตราสัญลักษณ์ของบริษัท พีอีเอ
เอ็นคอมอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

2558 รางวัลสินค้าไทยที่มีการออกแบบดี Design Excellence Award (DEmark)
หมวดกราฟิกดีไซน์ จากผลงานออกแบบฟอนต์ Leelas จัดโดย สำนักส่งเสริมการออกแบบ
และนวัตกรรมเพื่อการค้า กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์

2558 รางวัล Good Design Awards (G-mark) จากผลงานออกแบบฟอนต์ Leelas
จัดโดย สมาคมส่งเสริมการออกแบบอุตสาหกรรมแห่งประเทศญี่ปุ่น (JIDPO)

2559 บุคลากรดีเด่น ประจำปีพุทธศักราช 2559 12 ตุลาคม 2559
เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากรครบรอบปีที่ 73

2560 นักศึกษาเก่าดีเด่น ประจำปีพุทธศักราช 2560 ประเภทผู้ส่งเสริมการศึกษา
12 ตุลาคม 2559 เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากรครบรอบปีที่ 74

2561 รางวัลสินค้าไทยที่มีการออกแบบดี Design Excellence Award (DEmark)
หมวดกราฟิกดีไซน์ จากผลงานออกแบบฟอนต์ ZT Chanya จัดโดย สำนักส่งเสริม
การออกแบบและนวัตกรรมเพื่อการค้า กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์

2562 รางวัลสินค้าไทยที่มีการออกแบบดี Design Excellence Award (DEmark)
หมวดกราฟิกดีไซน์ จากผลงานออกแบบฟอนต์ ZT December จัดโดย สำนักส่งเสริม
การออกแบบและนวัตกรรมเพื่อการค้า กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์

2562  รางวัล Good Design Awards (G-mark) จากผลงานออกแบบฟอนต์
ZT December จัดโดย สมาคมส่งเสริมการออกแบบอุตสาหกรรมแห่งประเทศญี่ปุ่น (JIDPO)

2563 Special award of Krzysztof Białowicz, “Plastic Kill”, Poster Fest 03 2021 Budapest, Hungarian Poster Association 

2564 รางวัลสินค้าไทยที่มีการออกแบบดี Design Excellence Award (DEmark) หมวดกราฟิกดีไซน์ จากผลงานออกแบบฟอนต์ ZT Paperclip จัดโดย สำนักส่งเสริมการออกแบบและนวัตกรรมเพื่อการค้า กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

2564 The Winner Entries, Typography Day 2022 Poster Design Competition, IDC School of Design, Indian Institute of Technology Bombay

2565 Shortlist ในการประกวดโปสเตอร์ The Bolivia BICeBé® Poster Biennial ประเภท Unpublished Poster: Earth Overshoot Day  ประเทศโบลิเวีย

การศึกษา

ศ.ม. (นฤมิตศิลป์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2545)

ศ.บ. (การออกแบบนิเทศศิลป์) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2537)

ผลงานวิจัย/สร้างสรรค์

ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

อาวิน อินทรังษี, พสุกิตติ์ จันทร์แจ้ง. (2565). “โครงการออกแบบอัตลักษณ์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนบ้านไร่กร่าง อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี” กองทุนวิจัยฯ
คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

อาวิน อินทรังษี, ธนาทร เจียรกุล, พัฒนา เจริญสุข, มุกดา จิตพรมมา. (2563). “โครงการออกแบบอัตลักษณ์
เพื่อสร้างมูลค่าให้กับแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนตลาดน้ำยะกัง อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
The Value added on Identity design of Yakang Tourism Community” ไทย, กองทุนวิจัยฯ
คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (50 หน้า) เผยแพร่เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2564

ธนาทร เจียรกุล, อาวิน อินทรังษี, พัฒนา เจริญสุข, มุกดา จิตพรมมา. (2563). “โครงการสร้างเครือข่ายการพัฒนา
ทุกภาคส่วนเพื่อขับเคลื่อนการท่องเที่ยวโดยชุมชน” ไทย, องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยว
อย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) : อพท. (69 หน้า) เผยแพร่เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2563

ธนาทร เจียรกุล, อาวิน อินทรังษี, พัฒนา เจริญสุข, มุกดา จิตพรมมา. (2562). “โครงการพัฒนาศักยภาพภาคี
และเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนการท่องเที่ยวโดยชุมชน” ไทย, องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยว
อย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) : อพท. (103 หน้า) เผยแพร่เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2562

ธนาทร เจียรกุล, อาวิน อินทรังษี, พัฒนา เจริญสุข, มุกดา จิตพรมมา. (2561). “โครงการพัฒนาและเพิ่มมูลค่า
ผลิตภัณฑ์ชุมชนให้กับชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ ภายใต้โครงการเสริมสร้างกลไกการขับเคลื่อนภาคีการพัฒนา
การท่องเที่ยวโดยชุมชน ประจำปี 2561” ไทย, องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
(องค์การมหาชน) : อพท. (45 หน้า) เผยแพร่เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2561

ผลงานสร้างสรรค์

อาวิน อินทรังษี. (2563). การออกแบบตราสัญลักษณ์ ศูนย์อนุรักษ์ศิลปกรรรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร
(
Logo Design for Silpakorn University International Art Conservation Centre) [ออกแบบนิเทศศิลป์].
นิทรรศการผลงานสร้างสรรค์ของคณาจารย์คณะมัณฑนศิลป์ ประจำปี 2563. หอศิลปะและการออกแบบคณะมัณฑนศิลป์
มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ไทย. 14 กันยายน 2563 – 26 กันยายน 2563. (26 – 29)

อาวิน อินทรังษี. (2561). การออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับไข่เค็มไชยา อสม. [ออกแบบนิเทศศิลป์]. นิทรรศการผลงาน
สร้างสรรค์ของคณาจารย์คณะมัณฑนศิลป์ ประจำปี 2561 : ส่งเสริมชุมชนต้นแบบ สืบสานมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม
สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ครั้งที่ 3. หอศิลป์ร่วมสมัยราชดำเนิน ไทย. 15 กันยายน 2561 – 30 กันยายน 2561. (69-73)

Arwin Intrungsi. (2019). Three signs of Being: Impermanence, Suffering and Egolessness
[ออกแบบนิเทศศิลป์]. 2019 Pacific Rim International Exhibitions. Art Gallery of A.M FEDOTOV,
Khabarovsk city Russia. 9 October 2019 – 11 November 2019. (42-43)

Arwin Intrungsi. (2019). 24 March 2019, Kill Varanus with your Pen [ออกแบบนิเทศศิลป์].
The Art and Design Exhibition. by Members of the Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University,
Thailand. Chohyung Gallery, Kookmin University South Korea. 1 May 2019 – 3 May 2019. (103)

Arwin Intrungsi. (2018). Chanya Font [ออกแบบนิเทศศิลป์]. 2018 Pacific Rim International Exhibitions.
Hue University Vietnam. 19 November 2018 – 24 November 2018. (46-47)

บทความ

อาวิน อินทรังษี. (2550) สื่อแฝงในบรรยากาศ. วารสารศิลปะและการออกแบบคณะมัณฑนศิลป์
มหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับที่ 2/2550. กรุงเทพฯ : บริษัทกราฟิกบ็อกซ์ จำกัด

อาวิน อินทรังษี. (2553) สีกับการออกแบบอัตลักษณ์. วารสารศิลปะและการออกแบบคณะมัณฑนศิลป์
มหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับที่ 3/2553. กรุงเทพฯ : บริษัทกราฟิกบ็อกซ์ จำกัด

อาวิน อินทรังษี. (2564) โครงการออกแบบอัตลักษณ์เพื่อสร้างมูลค่าให้กับแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนตลาดน้ำ
ยะกังอำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส. วารสารวิชาการ The New Viridian Journal of Arts, Humanities
and Social Sciencesฉบับ สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนมีนาคม –เมษายน 2564

 

ผลงาน

© สงวนลิขสิทธิ์ 2558, คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร