อาจารย์ ดร.อรอุมา วิชัยกุล

Onuma Wichaikul, Ph.D.

email : onn.wichaikul@gmail.com

ประสบการณ์สอน ระยะเวลา 4 ปี
366 102 การทำเครื่องประดับ 1
366 103 การทำเครื่องประดับ 2
366 108 การเขียนแบบเครื่องประดับ
366 212 คอมพิวเตอร์เพื่องานเครื่องประดับ 2
366 226 เครื่องประดับกับสภาวะแวดล้อมโลก
366 514 วิสาหกิจและธุรกิจเครื่องประดับ
366 542 การขับเคลื่อนเป้าหมายการออกแบบและพัฒนาที่ยั่งยืน
366 213 การออกแบบเครื่องประดับ 5
366 214 ศิลปนิพนธ์

การศึกษา

2564 : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การออกแบบ) คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ
2559 : ศิลปมหาบัณฑิต (ออกแบบเครื่องประดับ) คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ
2550 : ปริญญาตรีศิลปบัณฑิต (ออกแบบเครื่องประดับ) คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ

ผลงานวิจัย/สร้างสรรค์

ผลงานวิจัย
– ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 : โครงการเครื่องประดับร่วมสมัยที่ได้รับแรงบันดาลใจจากองค์ประกอบของงานศิลปะไทย

การแสดงผลงานสร้างสรรค์ในรูปแบบของนิทรรศการ
ระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ
– Blooming Again. Pacific Rim International Exhibitions. หอศิลป์บรมราชกุมารี คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ Thailand. 14 พฤศจิกายน 2560 – 17 พฤศจิกายน 2560.

ระดับนานาชาติ
– ‘Po Pieng’ Jewellery. 2019 International Art and Design Exhibition. Ewha Womans University South Korea. 26 November 2019 – 1 December 2019.
– Coffee. 2019 Pacific Rim International Exhibitions. Art Gallery of A.M FEDOTOV, Khabarovsk city Russia. 9 October 2019 – 11 October 2019.
– Coffee. The Art and Design Exhibition. by Members of The Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University, Thailand. Chohyung Gallery, Kookmin University South Korea. 1 May 2019 – 3 May 2019.
– Ornament Mould Brooch. 2018 Pacific Rim International Exhibitions. Hue University Vietnam. 19 November 2018 – 24 November 2018.

ระดับชาติ
– เบ่งบาน อีกครั้ง. นิทรรศการผลงานคณาจารย์คณะมัณฑนศิลป์ ประจำปี 2560 : สืบสานปณิธานพ่อ. Lifestyle Hall ชั้น 2 สยามพารากอน Thailand. 18 กันยายน 2560 – 22 กันยายน 2560.
– เครื่องประดับร่วมสมัยจากวัสดุเหลือใช้ ชุมชนเกษตรอินทรีย์ : ลำต้นผัก. โครงการส่งเสริมชุมชนต้นแบบสืบสานมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ครั้งที่ 2. ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา นครปฐม Thailand. 17 พฤษภาคม 2560 – 18 พฤษภาคม 2560.
– พิมพ์ประดับ. นิทรรศการผลงานคณาจารย์คณะมัณฑนศิลป์ ประจำปี 2561 : ส่งเสริมชุมชนต้นแบบ สืบสานมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ครั้งที่ 3. หอศิลป์ร่วมสมัยราชดำเนิน Thailand. 15 กันยายน 2561 – 30 กันยายน 2561.
– คูณ (การปลูกป่า 3 อย่างได้ประโยชน์ 4 อย่าง) (Koon (3 Forests, 4 Benefits)). นิทรรศการผลงานสร้างสรรค์ ของคณาจารย์คณะมัณฑนศิลป์ ประจำปี 2563. หอศิลปะและการออกแบบคณะมัณฑนศิลป์ ม.ศิลปากร วังท่าพระ ไทย. 14 กันยายน 2563 – 26 กันยายน 2563.

บทความ

การเผยแพร่บทความวิชาการและการประชุมทางวิชาการ

ระดับนานาชาติ
– Contemporary Jewellery inspired by Thai-art elements. 2019 International Art and Design Symposium. Ewha Womans University South Korea. 26 November 2019 – 1 December 2019. pages 104-107.

ระดับชาติ
– ทางสายกลาง ภูมิปัญญาของศาสนาเพื่อการสร้างวัสดุสําหรับงานเครื่องประดับร่วมสมัย. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ. ฉบับภาษาไทย. (กุมภาพันธ์ 2565). บทความวิจัย. ฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1
– การออกแบบวัสดุเพื่อเสริมสร้างความอยู่ดีกินดีด้วยวิถีพอเพียงผ่านผลงานเครื่องประดับ. วารสารสุขศึกษา. ฉบับภาษาไทย สาขาจิตวิทยาสุขภาพ สุขศึกษา การสื่อสารสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ และการสาธารณสุข ( (กรกฎาคม – ธันวาคม 2564). บทความวิจัย. ฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 2
– การพัฒนารูปลักษณ์วัสดุเพื่องานเครื่องประดับสานต่อความพอเพียง. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปศาสตร์ (พฤษภาคม – มิถุนายน 2564). บทความวิจัย. ฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1
– เครื่องประดับร่วมสมัยกับหลักการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนในพื้นที่เขา
ชะงุ้ม. การประชุมวิชาการ “ศิลปากรวิจัย” ครั้งที่ 11 “นวัตกรรมและการสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”. ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา นครปฐม Thailand. 13 มิถุนายน 2562 – 14 มิถุนายน 2562.
– “ซิมไบโอซิตี้” แนวทางการพัฒนาเมืองสีเขียวของสวีเดน สู่การออกแบบอย่างยั่งยืน. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ( กันยายน – ธันวาคม 2561 ). บทความ
– พัฒนาการของงานเครื่องประดับยุคสมัยใหม่และยุคหลังสมัยใหม่. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ( พฤษภาคม – สิงหาคม 2560 ). บทความ

การจดทรัพย์สินทางปัญญา
– กรรมวิธีการผลิตวัสดุสำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องประดับจากวัสดุเหลือใช้. คำขอเลขที่ 1903002215 ยื่นเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2562 ที่ประเทศ ไทย. ระยะเวลา 10 ปี.

© สงวนลิขสิทธิ์ 2558, คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร